Category Archives: ฐานข้อมูลและการสืบค้น

Preferred Search

4 February 2012
Posted by Chanpen Klomchaikhow

หลังจากที่ได้บอกเล่าให้รู้จักกับส่วนหนึ่งใน View your record ไปแล้วอย่างหนึ่งคือ My Reading history
วันนี้จะมาบอกเล่าในอีกส่วนหนึ่งของ View Your Record ที่เราๆ ท่านๆ อาจจะยังไม่รู้จัก และยังไม่เคยใช้ประโยชน์ นั่นก็คือ Preferred Search ซึ่งเจ้า

การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์เบื้องต้น

จากการที่ใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ให้บริการหาข้อมูลให้ผู้ใช้บริการมาน้าน..นาน..เวลาอธิบายเรื่องการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ให้กับ เพื่อนๆ หรือนักศึกษาฟัง สิ่งหนึ่งที่จะบอกเสมอคือ เมื่อเปิดหน้าหลัก (Home) ของฐานข้อมูลใดๆ ก็ตามที่เรายังไม่คุ้นเคย ให้อ่านทุกตัว ตั้งแต่มุมหน้าจอด้านซ้ายมือ เรื่อยมาจนจบมุมล่างด้านขวา หรือหากหน้าหลักยาวเกินหน้าจอคอมพิวเตอร์ ก็เลื่อนลงมาอ่านให้หมด แล้วค่อยเริ่มต้น browse รายละเอียดของฐานข้อมูลนั้น  เริ่มต้นจากดู tab ต่างๆ …

ความเสี่ยง เครือข่าย VPN และคำตอบ

เมื่อวานที่ประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพฯ ได้พูดเรื่องคะแนนการประกันคุณภาพ เลยมาถึงเรื่องความเสี่ยง เลยไปถึงเรื่องเครือข่ายที่จะทำกันอย่างไรดี เพราะสำนักหอสมุดกลาง มีการใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน ฝั่งสนามจันทร์บอกว่าลื่นปรื๊ดๆ เพชรบุรี บอกว่าแล้วแต่อากาศ ท่าพระบอกว่าไม่ค่อยลื่น คำถามต่อมา คือ เราจะไปเช่าเครือข่ายจากข้างนอกมาใช้กันไหม?????????? คำตอบคือจำเป็นมากน้อยแค่ไหน??????????
ส่วนเราสงสัยว่าหน่วยงานอื่นมีใครเช่ามาใช้บ้าง ก็มีใช้กันอยู่
ปัญหาของเราในฐานะที่ทำงานฝ่ายบริการคือ คือหากไปใช้เครือข่ายข้างนอกแล้วจะเข้าใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ไม่ได้ เพราะฐานข้อมูลทั้งหมดคุมโดยหมายเลข …

ChemSpider

วันนี้ขอแนะนำฐานข้อมูลฟรีๆ สัก 1 ฐานข้อมูลค่ะ ชื่อฐานข้อมูล ChemSpider เป็นฐานข้อมูลทางด้านเคมีโดยเฉพาะ ให้ข้อมูล Chemical Structure มากกว่า 26 ล้าน Structure จากแหล่งข้อมูลที่มีคุณภาพมากกว่า 100 แหล่งข้อมูล  การสืบค้นง่ายมาก มีลักษณะเหมือนกับฐานข้อมูลออนไลน์ที่ได้มาตรฐานทั่วไป แบ่งเป็น…

โครงการสหบรรณานุกรมห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา (Union Catalog)

31 July 2011
Posted by Chanpen Klomchaikhow

หากจะพูดถึงบัตรรายการสหบรรณานุกรม หรือ Union Catalog Card แล้ว บรรณารักษ์รุ่นเก่าๆ คงจะรู้จักกันดี ในลักษณะที่เป็นรูปแบบบัตรรายการ 3″ x 5″ และก็คงปฏิเสธไม่ได้เลยว่า เจ้าบัตรรายการสหบรรณานุกรมนี้ มีประโยชน์มากมายเลยทีเดียวในตอนนั้น เพื่อที่จะได้รู้ว่าหนังสือเล่มนั้นๆ มีอยู่ที่ห้องสมุดไหนในประเทศไทย
หรือในส่วนของตัวเล่มวารสาร ก็จะรู้จักกันในชื่อ

จะหาตัวเอกสารจากหมายเลข DOI ได้อย่างไร

DOI หรือ Digital Object Identifier คือ หมายเลขประจำเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ หรือเอกสารที่อยู่ในฐานข้อมูล หรือบนอินเตอร์เน็ตทั้งหลาย เอกสารที่อยู่บนอินเตอร์เน็ตใดที่มีหมายเลข DOI แล้ว จะสามารถค้นหาพบเสมอ ถึงแม้ว่า เว็บไซต์นั้นจะถูกยกเลิกการใช้ไปแล้วก็ตาม
หากจะเปรียบเทียบกับสิ่งตีพิมพ์ ก็เหมือนกับหมายเลข ISBN ของหนังสือ หรือ …

JOURNAL LINK

เล่าเรื่อง ความเป็นมาของ Journal Link ได้มีโอกาสไปประชุมงานวารสาร  ภายใต้หัวข้อ “เปิดตัวกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สานสัมพันธ์คณะทำงาน ๒ กลุ่ม โดย มีฝ่ายวารสารและเอกสาร และฝ่ายบริการ  และเรื่อง Journal Link Change มีเราชาวหอสมุด ฯ sus …

Previous Posts Next posts

Tags

blog CONSAL KPI PULINET การจัดการความรู้ การดูแลสุขภาพ การทำงาน การท่องเที่ยว การบริการ การปฏิบัติงานล่วงเวลา การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาตนเอง การพัฒนาบุคลากร การลงรายการ การศึกษาดูงาน การอ่าน การเรียนออนไลน์ กิจกรรมสำหรับเด็ก กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมห้องสมุด ความสุข ค่ายห้องสมุด งานบริการ ธรรมะ นวนิยาย นักเขียน บรรณารักษ์ บริการชุมชน ประกันคุณภาพ ภาพถ่าย ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากร ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ วัด วันสำคัญ วารสาร สัมมนา สุขภาพ หนังสือ หนังสือบริจาค หนังสือและการอ่าน หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ห้องสมุด ห้องสมุด 24 ชั่วโมง อาหาร