Tag Archives: การลงรายการ

Tag 300 : หน้า vs แผ่น ต่างกันอย่างไร

การทำรายการทรัพยากรสารสนเทศ ในการลงรายการแต่ละTag จะเป็นการลงรายการแบบ AACR2 เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน แต่ปัจจุบันการลงรายการแบบ RDA มีบทบาทมากขึ้น เนื่องจากสารสนเทศในยุคปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รายละเอียดในการลงข้อมูลจึงต้องลงข้อมูลให้มากที่สุด เพื่อสะดวกต่อผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ
ดิฉันเคยได้รับคำถามจากเพื่อนร่วมงานฝ่ายอื่นว่า หนังสือบางเล่มใช้คำว่า “หน้า” และบางเล่มใช้คำว่า “แผ่น” จึงอยากทราบว่าต่างกันอย่างไร จึงขออธิบายเป็นภาษาตนเองคะว่า Tag 300 …

เรื่องของ Note

10 June 2017
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen: หากมีการพูดถึงคำว่า “Note” หรือ “โน้ต” ในความเข้าใจของคนทั่วไปมีความหลากหลายของความหมาย อาจหมายถึง โน้ตดนตรี หรือ โน้ตเพลง (note) ที่เป็นเสียงหรือสัญลักษณ์ของเสียง หรือ ในเรื่องการเขียนเรื่องเอกสารอาจหมายถึง สมุด หรือ สมุดโน้ต (notebook/notepad) บันทึก (memorandum/memo) ชื่ออื่นเช่น …

การลงรายการจำนวนหน้า ใน tag 300

31 August 2016
Posted by Karuna Srijareon

การลงรายการจำนวนหน้าหนังสือ จะลงรายการใน tag 300 เพื่อบอกลักษณะทางกายภาพของตัวเล่ม  ในที่นี้ดิฉันจะกล่าวถึงจำนวนหน้าที่ไม่มีเลขหน้ากำกับ ซึ่งมีหลายลักษณะด้วยกัน มีวิธีการลงรายการ ดังนี้

  1. หนังสือเล่มนั้นมีส่วนต้นของหนังสือ (คำนำ/สารบัญ) มีเลขหน้าเป็นตัวอักษร หรือตัวเลขโรมันกำกับ ให้ลงรายการตัวสุดท้ายของหน้า เช่น
     ข-จ,  250

Cutter X กับงานประเภทวรรณกรรม

1 July 2015
Posted by Ekanong Duangjak

 :mrgreen: ตัวพิมพ์เล็ก “x” เราเห็นในตารางเลขหมู่ของ LC Classification พวกเรามวลหมู่บรรณารักษ์ Cataloger ย่อมต้องเคยพบเห็นกันอยู่เสมอในชีวิตของการทำงาน

ตัว x ในตาราง LC Classification หมายถึงอะไรได้บ้าง เรามาดูกัน
หากเป็นตัว .x ในรูปแบบของการใช้ตาราง
“x

Prequel

17 June 2015
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen:  เมื่อต้นเดือนที่ผ่านมาได้รับโจทย์ปัญหาจากหัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์ฯ เรื่องการลงรายการหนังสือที่เป็นชุด ซึ่งโดยทั่วไปก็คงไม่มีปัญหาอะไรที่ผิดปกติหากหนังสือชุดนั้นจะมาแบบปกติ คือเรียงลำดับมาตั้งเล่มหนึ่ง สอง สาม สี่ ไล่ไปเรื่อยๆจนถึงเล่มจบ แต่หนังสือที่ซื้อเข้ามาล่าสุดเป็นหนังสือชุด The Maze runner series ซึ่งหัวหน้าฝ่ายพิจารณาแล้วว่า สมควรที่จะอยู่รวมกันไม่แยกเป็นเล่ม (ซึ่งถ้าหากแยกเป็นเล่มๆ ก็จะใช้วิธิการ Running Cutter เพื่อให้หนังสืออยู่ใกล้กัน)…

Trick ของการทำงานกับ Cutter

11 November 2014
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen: บรรณารักษ์ผู้มีหน้าที่วิเคราะห์หมวดหมู่ เคยมีปัญหาปวดอก ปวดใจ และปวดหมองกับการให้เลขคัตเตอร์หรือไม่ วันนี้มีข้อมูลใหม่มานำเสนอจ้า
ด้วยความบังเอิญไปพบงานเขียนของกลุ่มบรรณารักษ์ของประเทศแคนาดาเข้าเห็นว่าน่าสนใจก็ลยนำมาเล่าสู่กันฟัง เผ์ื่อว่า จะเป็นประโยชน์ในการทำงานไม่มากก็น้อย
ในการวิเคราะห์หมวดหมู่หากบรรณารักษ์ทั้งหลายไม่ได้ใช้คัตเตอร์สำเร็จรูป เช่น คัตเตอร์ของแซนบอร์น ก็จะใช้คัตเตอร์ของหอสมุดรัฐสภาอเมิรกัน หรือ L.C. Book Number Table
จากหน้าเว็บไซต์ของ LC (http://www.loc.gov/aba/pcc/053/table.html) …

เรื่องของ Cutter Number

7 September 2014
Posted by Ekanong Duangjak

  :mrgreen:     “เลขคัตเตอร์” คำนี้บรรณารักษ์และผู้ที่ทำงานในห้องสมุดย่อมต้องเคยได้ยินกันมา
ผู้ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับวงการห้องสมุด อาจทำหน้างงและสงสัย ว่าคืออะไร ดังนั้นวันนี้ก็เลย เอามะพร้าวห้าวมาขายสวน (สำหรับคนในวงการห้องสมุดที่รู้เรื่องเป็นอย่างดี) ถือว่า เรามาฟื้นความรู้เก่ากันก็แล้วกัน
(ปล. มิกล้าอวดภูมิ หรือถือเอาเป็นข้อเขียนของตนเอง เพราะเนื้อหาส่วนใหญ่ก็รวบรวมและเรียบเรียงเนื้อหามาจากผู้รู้ในวงการห้องสมุดของเรานั้นเอง)
เลขคัตเตอร์” มี 2 ชนิด …

Previous Posts

Tags

blog CONSAL KPI PULINET การจัดการความรู้ การดูแลสุขภาพ การทำงาน การท่องเที่ยว การบริการ การปฏิบัติงานล่วงเวลา การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาตนเอง การพัฒนาบุคลากร การลงรายการ การศึกษาดูงาน การอ่าน การเรียนออนไลน์ กิจกรรมสำหรับเด็ก กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมห้องสมุด ความสุข ค่ายห้องสมุด งานบริการ ธรรมะ นวนิยาย นักเขียน บรรณารักษ์ บริการชุมชน ประกันคุณภาพ ภาพถ่าย ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากร ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ วัด วันสำคัญ วารสาร สัมมนา สุขภาพ หนังสือ หนังสือบริจาค หนังสือและการอ่าน หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ห้องสมุด ห้องสมุด 24 ชั่วโมง อาหาร