Category Archives: มาตรฐานการลงรายการ

RDA (Resource Description and Access)

27 May 2011
Posted by Chanpen Klomchaikhow

หลังจากรอให้น้องหนึ่ง (สุนทร) มาเล่าเรื่อง RDA ให้ฟังอยู่หลายเพลา แต่รอแล้วรอเล่าน้องเจ้าก็ไม่เห็นมาซักที…
แล้วในช่วงโครงการ Librarian Update ของหอสมุดฯ (26 พ.ค. 2554) ได้เชิญพี่รุ้งฟ้า และพี่ชนิดา (ศูนย์วิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) มาเป็นวิทยากร พี่เค้าก็ได้เกริ่นเรื่องนี้ให้ฟังเล็กน้อย แล้วพี่ชนิดาก็สัญญิงสัญญากับข้าพเจ้าว่า …

ภาษาอังกฤษ วันนี้ได้หลายคำ

ภาษาอังกฤษวันละคำ จะเป็นประโยคที่คุ้นหู  แต่มีประโยคทีีไม่คุ้นหูจำนวนมากมายจากครู Gary ที่สอน  พวกเเราไปเมือเดือนที่แล้ว
วันนี้มีเหตุเนื่องจากมีผู้ใช้บริการแจ้งว่าท่านชื่อคุณวารินทร์  โทรศัพท์มาที่ห้องสมุด คุณพี่ตาคาดว่าต้อ’มีงานเข้าแน่นอน จึงเชิญอะฮั้นไปฮัลโหลรับสาย สรุปความว่า ท่านได้เข้าใช้วิทยานิพนธ์ฉบับออนไลน์จากห้องสมุดของเราแล้วพบว่า ในส่วนที่เป็นชื่อผู้แต่ง ใช้ภาษาอังกฤษว่า History … อิชั้นก็งงๆ ว่าตรงไหนหว่า เพราะเราเขียนเป็นวิทยานิพนธ์ภาษาไทย ถ้าเป็นตัวเล่มวิทยานิพนธ์ก็ต้องบัณฑิตวิทยาลัยเป็นคนทำ …

การเขียนบรรณานุกรมจากยูทูบ

เมื่อวานได้อ่านจดหมายจากอาจารย์คณะมัณฑนศิลป์ เขียนมาสอบถามเรื่องการเขียนบรรณานุกรมแบบละเอียบยิบ ด้วยเหตุที่ท่านได้ตามอ่านบล๊อกของหอสมุดฯ ที่ข้าพเจ้าเขียนเรื่องที่เกี่ยวพันกับการเขียนบรรณานุกรม http://202.28.73.5/snclibblog/?p=7778 และ http://202.28.73.5/snclibblog/?p=7974
อาจารย์เขียนมาค่อนข้างยาว ยกตัวอย่างข้อสงสัยมาสอบถาม ซึ่งได้เขียนตอบและได้ส่งต่อให้กับบรรณาัรักษ์ทุกท่านแล้ว  เผื่อเมื่ออ่านแล้วจะได้ช่วยกันศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและนำมาแบ่งปันในโอกาสต่อไป
การเขียนบรรณานุกรมในระดับอุดมศึกษาของประเทศไทย มีรูปแบบเกือบจะเท่าๆ กับจำนวนมหาวิทยาลัย เพราะต่างกำหนดมาตรฐานขึ้นมาใช้ภายในสถาบัน โดยเฉพาะกำหนดให้กับบัณฑิตศึกษาเพื่อการทำวิทยานิพนธ์
คนที่จบมาจากสถาบันนั้นๆ  ต่างก็จะเข้าใจและชินกับรูปแบบนั้น …

มาตรฐานสื่อดิจิทัล (2)

ขอยกตัวอย่างที่สำคัญๆ พอให้เห็นภาพว่าการลงรายการมาตรฐานเป็นแบบไหน

1. ชื่อโฟลเดอร์และแฟ้มเอกสาร

ส่วนใหญ่ชอบตั้งชื่อเป็นภาษาไทย มักจะมีช่องว่าง มักมีอักขระพิเศษผสม ชื่อไม่สื่อความหมาย การตั้งชื่อที่ถูกต้องคือต้องเป็นภาษาอังกฤษผสมตัวเลข ใช้ได้เฉพาะเครื่องหมายขีดกลาง ไม่ควรมีช่องว่าง ไม่ควรยาวมากเกิน ชื่อต้องสื่อความหมายชัดเจน

2. การทำบรรณานุกรมสื่อออนไลน์

ไม่ควรใช้วิธี copy URL จากหน้าเว็บไปแปะในเอกสาร เพราะมักพบว่าข้อความภาษาไทย

มาตรฐานสื่อดิจิทัล (1)

สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และ ศูนย์บริการความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ศวท.) จัดสัมมนาเรื่อง มาตรฐานสื่อดิจิทัลเพื่อการบริการยุคสังคมฐานความรู้ วันที่ 27 มกราคม 2553 ณ ห้องประชุมประกอบ หุตะสิงห์ อาคารอเนกประสงค์

Go to Thai IUG #14th

Last week ไปศาลายา for Thai IUG #14th ค่ะ …เอิ้นเป็นภาษาต่างด้าวมิใช่ไร เพราะได้ข่าวว่ามีต่างชาติมาแวะเวียนแถวนี้ เลยเอากับเขาหน่อย เหอ…เหอ…แต่ได้แค่นี้แหละ
ไปครั้งนี้ทำให้มีเรื่องให้ทำมาหาเขียนลง blog ได้จนถึงสิ้นปี แต่หันมาเห็น “ลานจันทร์” ฉบับที่แล้ว อ้าว….ครบรอบอีกแล้วนี่หว่า …

Cataloging Service Bullentin

30 June 2009
Posted by Ekanong Duangjak

foreword mail จากพี่ปองอีกแล้ว มาให้ลองเข้าใช้ดูอีกแล้ว ครั้งนี้เป็น Cataloging Service Bullentin ได้ข่าวว่า ได้มาจากเพื่อนใน  Twitter เห็นว่าน่าสนใจดีให้ลองเข้าอ่าน เมื่อลองเข้าไปอ่านแล้วเลยมาเขียนแนะนำให้เพื่อนๆ บรรณารักษ์ได้ลองเข้าไปใช้ดู Bullentin ฉบับนี้ เป็นของ Library of

Previous Posts Next posts

Tags

blog CONSAL KPI PULINET การจัดการความรู้ การดูแลสุขภาพ การทำงาน การท่องเที่ยว การบริการ การปฏิบัติงานล่วงเวลา การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาตนเอง การพัฒนาบุคลากร การลงรายการ การศึกษาดูงาน การอ่าน การเรียนออนไลน์ กิจกรรมสำหรับเด็ก กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมห้องสมุด ความสุข ค่ายห้องสมุด งานบริการ ธรรมะ นวนิยาย นักเขียน บรรณารักษ์ บริการชุมชน ประกันคุณภาพ ภาพถ่าย ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากร ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ วัด วันสำคัญ วารสาร สัมมนา สุขภาพ หนังสือ หนังสือบริจาค หนังสือและการอ่าน หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ห้องสมุด ห้องสมุด 24 ชั่วโมง อาหาร