ว่าด้วยเรื่อง…ลิขสิทธิ์ (ห้องสมุด)
เนื่องจากตัวเองต้องรับผิดชอบในงานของหอสมุดฯ ที่อาจมีโอกาสไปเกี่ยวข้องกับลิขสิทธิ์ โดยเฉพาะในเรื่องของการละเมิดลิขสิทธิ์ เพราะจากการที่ได้อ่านเรื่องราวของลิขสิทธิ์ ไม่ว่าจากหนังสือ หรือเอกสารการสัมมนา หรือแม้แต่พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ รวมถึงครั้งล่าสุดที่ได้มีโอกาสไปร่วมการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์สำหรับห้องสมุดและหอจดหมายเหตุ ซึ่งจัดโดยกรมทรัพย์สินทางปัญญา
ยิ่งฟังก็ยิ่งหนาว…เพราะถ้าเอาเข้าจริงๆ แล้ว เรามีโอกาสละเมิดลิขสิทธิ์ได้อยู่ตลอดเวลา แม้จะไม่ได้ตั้งใจก็ตาม
ลิขสิทธิ์ หมายถึงอะไรคงไม่ต้องพูดถึง เพราะจริงๆ มันคงผ่านเลยจุดนั้นไปแล้ว แต่ที่แน่ๆ ผลงานนั้นๆ …
AR Code กับห้องสมุด
เมื่อเร็วๆ นี้ได้เล่าเรื่อง QR Code ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และเมื่อนานมาแล้วเคยเล่าเรื่อง QR Code ที่สามารถมาประยุกต์ใช้ในเก็บข้อมูลบรรณานุกรมหนังสือ หรือการยืม-คืนได้ … แต่ไม่น่าเชื่อว่าด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศที่ก้าวไปอย่างไว ทำให้มีเทคโนโลยีใหม่ที่ว่ากันว่าอาจจะมาแทน QR Code ก็เป็นได้…เจ้าเทคโนโลยีที่ว่านี้เรียกว่า AR Code
AR Code …
ระบบอักขราวิสุทธิ์
บ่อยครั้งที่มีคนพูดถึงเรื่องลอกๆ ก๊อปๆ บางวันก็มีผู้ใช้บริการมาถามว่าได้ไฟล์วิทยานิพนธ์จากฐานข้อมูล DC ของ ThaiLIS แล้ว จะ Copy & Paste ยังไงดี มีลายน้ำ…อ๊ะถามงี้ได้ไงกันเนี่ย
พี่พัชรีมักเขียนบล็อกเรื่องเกี่ยวกับ การลักลอกงานวิชาการและวรรณกรรม (Plagiarism) อยู่บ่อยๆ แต่เรามักจะไม่เรียกไพเราะอย่างพี่เค้า…ชอบเรียกว่าพวกโจราทางวรรณกรรม… ซะมากกว่า แล้วพี่พัชรียังพูดถึงวิธีการตรวจสอบด้วยว่าข้อมูลนั้นเป็นการโจราหรือเปล่า …
พงศาวลี
พงศาวลี…ที่ไม่ใช่พงศาวดาร
เมื่อวันก่อนเก็บขยะของลูกชาย ไปเจอกระดาษเน่าๆ แผ่นนึง เห็นบนหัวติดดินน้ำมันเป็นตัวอักษรว่า “พงศาวลี” จำได้ว่าเคยอ่านอยู่เหมือนกัน ว่าเป็นแผนภูมิแสดงพวกสปีชีส์ พวกยีน หรือพวกพันธุกรรม อะไรทำนองนี้
ไปอ่านหนังสือทางด้านชีววิทยาหลายๆ เล่ม เค้าว่า พงศาวลี หรือ Pedigree เป็น แผนภูมิชนิดหนึ่ง …
IPv4 to IPv6
หลังจากที่ได้เคยบอกเล่าให้รู้จักกับ IP Adress กันไปเมื่อนานมาแล้วว่า เป็นหมายเลขประจำเครื่องที่ต้องกำหนดให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่อง และอุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้งานในระบบเครือข่าย โดยที่มาตรฐานของ IP Address ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันเป็นมาตรฐาน เวอร์ชั่น 4 หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า IPv4 ซึ่งเป็นตัวเลขไบนารีขนาด 32 บิตหรือ …
Government Cloud Service (G-Gloud)
ช่วงปีที่ผ่านๆ เรามักจะได้ยินเรื่อง Cloud computing กันอยู่ตลอดเวลา รวมถึงศูนย์คอมพิวเตอร์ของเราก็นำ Cloud เข้ามาใช้ในการบริหารจัดการต่างๆ … วันนี้คงไม่ได้มาพูดกันแล้วว่า Cloud computing คืออะไร แต่คงจะมาดูกันว่า มี Cloud services แบบไหนกันบ้าง
Cloud services…
QR Code ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์…
หลังจากที่คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและการประชาสัมพันธ์ เฝ้าปลุกปั้นทำโปสเตอร์เพื่อประชาสัมพันธ์การใช้งานฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ทั้งที่สำนักหอสมุดกลางบอกรับ สกอ. บอกรับ รวมถึงฐานข้อมูลใช้ฟรีต่างๆ โดยใช้ QR Code เป็นส่วนหนึ่งของโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ … ก็ถึงเวลาคลอดออกมาใช้งานกันซักที
โปสเตอร์ที่จัดทำขึ้นมี 2 ส่วนคือ 1) ส่วนที่ชื่อว่า Knowledge Databases …