เรื่องของ article ในภาษาต่างประเทศ
ในหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ของเรานั้นมี Collection ภาษาต่างประเทศหลายภาษา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาจีน ภาษาเกาหลี ภาษาญี่ปุ่น ซึ่งบรรณารักษ์วิเคราะห์หมวดหมู่ทุกท่านต้องทำการวิเคราะห์หมวดหมู่หนังสือภาษาต่างๆ เหล่านี้ เพื่อนำหนังสือออกบริการผู้ใช้ ในการวิเคราะห์หมวดหมู่หนังสือที่เป็นภาษาต่างประเทศย่อมต้องแตกต่างจากหนังสือภาษาไทยของเรา ด้วยธรรมชาติของภาษา จึงต้องมีกฎเกณฑ์ที่ต่างกันไป สิ่งหนึ่งที่บรรณารักษ์วิเคราะห์หมวดหมู่จะต้องพบคือ การใช้ Article ในภาษาต่างประเทศที่ปรากฎที่ชื่อเรื่องของหนังสือ…
เรื่องของ "ชื่อ"
วันนี้เปิด AACR2 อ่าน chapter 22 เรื่อง headings for persons เนื่องจากช่วงนี้ห้องสมุดชื่อหนังสือที่เกี่ยวกับ Southeast Asia เข้ามาบริการในห้องสมุด ตามเทรนด์ go to ASEAN ซึ่งหนังสือเหล่านี้ก็จะมีเนื้อหาที่เกี่ยวกับประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของเรา 10 …
เรื่องของ Regions and Countries Table
เมื่อสัปดาห์ก่อนได้คำถามมาจากบรรณารักษ์ท่านหนึ่งเรื่อง การกระจายชื่อประเทศในการวิเคราะห์หมวดหมู่ เมื่อตอบคำถามนั้นไปแล้ว และเพื่อให้แน่ใจก็เลยต้องไปหาความรู้มาเพื่อสนับสนุนคำตอบนั้น ซึ่งในการวิเคราะห์หมวดหมู่ในระบบ LC หรือ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน บรรณาัรักษ์ย่อมเรียนรู้หมวดหมู่ต่างๆ ว่ามีขอบเขตของเนื้อหาครอบคลุมสาขาวิชาใดบ้าง ในแต่ละหมวดหมู่ย่อมที่การแบ่งหมวดหมู่ การใช้ตาราง ที่เหมือนหรือแตกต่างกันไป แต่มีสิ่งหนึ่งที่คล้ายกันคือ การกระจายของเนื้อหาในหมวดหมู่นั้นตาม “ ภูมิภาคหรือประเทศ ” หรือ ” …
เรื่องของ Editions
ปัญหาที่พบเห็นสำหรับบรรณาัรักษ์วิเคราะห์หมวดหมู่ คือ การตรวจสอบข้อมูลของหนังสือเล่มที่จะดำเนินการวิเคราะห์หมวดหมู่และการตัดสินใจเกี่ยวกับหนังสือเล่มนั้น เช่น
– การตรวจสอบข้อมูลของหนังสือเล่มที่เคยอยู่เดิมในฐานข้อมูล บรรณารักษ์ผู้วิเคราะห์หมวดหมู่พิจารณาว่าเป็นคนละเล่มกัน (ฉบับพิมพ์ครั้งใหม่) แล้วทำการวิเคราะห์หมวดหมู่ใหม่ โดยพิจารณาความแตกต่างของหนังสือเล่มที่จะดำเนินการวิเคราะห์หมวดหมู่กับเล่มที่มีอยู่เดิมว่า เป็นหนังสือที่ตีพิมพ์ใหม่
ซึ่งอาจเป็นการพิจารณาที่ผิดพลาดก็ได้ เพราะหนังสือเล่มที่จะดำเนินการวิเคราะห์หมวดหมู่นั้นอาจเป็นหนังสือที่ตีพิมพ์ซ้ำก็ได้ ดังนั้นเรามาดูเกณฑ์ของการพิจารณาหนังสือ ว่าหนังสือเล่มนั้นๆ เป็นการพิมพ์ครั้งใหม่ หรือ การพิมพ์ซ้ำ สมควรจะวิเคราะห์หมวดหมู่ใหม่ หรือ …
เรื่องของ ISBN
ช่วงเวลาที่ผ่านมาได้ทำรายงานสรุปข้อผิดพลาดที่พบจากการตรวจการลงรายการในฐานข้อมูลทรัพยากรสารนิเทศของบรรณรักษ์ในฝ่ายวิคราะห์ฯ เรื่องหนึ่งที่พบคือ การลงรายการ Tag 020 ISBN (International Standard Number) ข้อผิดพลาดที่พบคือ
1. กรณีที่หนังสือมี ISBN เป็นเลข 10 หลัก และ 13 หลัก บรรณารักษ์ลงรายการ …
การลงรายการชื่อบุคคล
การลงรายการชื่อบุคคล จะลงในส่วนที่เป็นผู้รับผิดชอบ tag 100 และในส่วนที่เป็นหัวเรื่อง tag 600 สามารถใช้ชื่อที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายในการลงรายการได้ตามหลัก AACR2 หรือชื่อนั้นกล่าวถึงในตัวเล่ม มากกว่าชื่อจริงของบุคคลนั้นๆ เช่น นามแฝง นามปากกา เป็นต้น
นอกจากนี้ ชาวต่างประเทศ ที่กล่าวถึงในหนังสือภาษาไทย หรือหนังสือแปล การให้หัวเรื่องหรือชื่อผู้แต่งซึ่งต้องให้เป็นภาษาไทยด้วยเช่นกัน …
Letters: A
วันนี้ตรวจการลงรายการบรรณานุกรมให้กับบรรณารักษ์ในฝ่ายวิเคราะห์เหมือนเช่นทุกวัน แต่มาสะดุดกับหนังสือเล่มหนึ่งชื่อเรื่อง A doctor in the house : the memoirs of Tun Dr. Mahathir Mohamad เขียน โดย Mahathir Mohamad ซึ่งหนังสือเล่มนี้เป็นงานเขียนแบบอัตชีวประวัติ …