Category Archives: มาตรฐานการลงรายการ

ชื่อวัด : การลงรายการทรัพยากรฯ Tag610

วัด เป็นสถานที่สำคัญของเราชาวพุทธศาสนา เป็นสถานที่ทางพระพุทธศาสนา ซึ่งในวัดมีอุโบสถ เจดีย์ เมรุ รวมถึงมีพระสงฆ์ แม่ชี อยู่อาศัย วัดในประเทศไทยมีจำนวนมาก แต่ละที่อาจมีชื่อวัดเหมือนกัน แต่อยู่คนละจังหวัด

ปัญหาในการลงรายการของบรรณารักษ์ cataloger ก็คือ เกิดความซับซ้อนและความสับสนในการลงรายการ จึงได้มีการทำข้อตกลงทั้ง 3 วิทยาเขต (วิทยาเขตท่าพระ, …

Digital Object Identifier : DOI

6 July 2016
Posted by Chanpen Klomchaikhow

Digital Object Identifier หรือ DOI คือ รหัสทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล เป็นเลขมาตรฐานสากลประจำไฟล์ดิจิทัลที่เผยแพร่บนอินเทอร์เน็ต หรือเป็นรหัสประจำเอกสารดิจิทัล สำหรับใช้ในการระบุหรือบ่งชี้ตัวเอกสารดิจิทัล  เป็นการบ่งชี้ทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลแบบถาวร (Permanent Identifier) โดยรหัสนี้จะไม่เปลี่ยนแปลงไปตามสถานที่ที่ใช้จัดเก็บ (Location) หรือสิทธิการเป็นเจ้าของทรัพยากรสารสนเทศนั้น
Digital Object Identifier หรือ

Cataloging in Publication หรือ CIP

:mrgreen: Cataloging in Publication เรียกแบบย่อว่า CIP หรือ การจัดทำข้อมูลบรรณานุกรมสิ่งพิมพ์ เป็นการวิเคราะห์รายละเอียดของสิ่งพิมพ์ ในลักษณะของบรรณานุกรมในรูปแบบที่เป็นมาตรฐาน ก่อนการจัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม ข้อมูล CIP ประกอบด้วย ชื่อผู้แต่งหรือผู้จัดทำ ชื่อเรื่องหรือชื่อหนังสือ และพิมพ์ลักษณ์ ได้แก่ ครั้งที่พิมพ์ เมืองที่พิมพ์ สำนักพิมพ์ …

ฟังก์ชั่น Verify

:mrgreen: การตรวจสอบคุณภาพข้อมูลโดยใช้ฟังก์ชั่นในโปรแกรม Sierra นั่นคือ ฟังก์ชั่น Verify
การ Verify คือ การปรับปรุง / ตรวจสอบข้อมูลหัวเรื่อง/รายการหลัก/ชื่อเรื่อง/เลขหมู่/ชื่อชุด/ISBN
สําหรับระเบียนบรรณานุกรมที่สร้างขึ้น บรรณารักษ์สามารถตรวจสอลข้อมูลการลงรายการที่ถูกต้องได้ด้วยฟังก์ชั่น Verify
วิธีการตรวจสอบข้อมูล

  1. เรียกระเบียนที่ต้องการตรวจสอบขึ้นมา
  2. เลือกเขตข้อมูลที่ต้องการตรวจสอบ โดยการวางเคอร์เซอร์ ไว้ที่

การใช้ตารางชีวประวัติ

12 July 2015
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen: ชีวประวัติ คือ การเขียนประวัติศาสตร์ของชีวิตของบุคคล หรือ การทำงานของบุคคล หรือ การมีส่วนร่วมของแต่ละบุคคลที่ชี้เฉพาะเจาะจง
งานเขียนชนิดนี้เป็นการกล่าวถึงเรื่องราวของบุคคลในช่วงชีวิต ชีวประวัติของบุคคลหนึ่งๆ ไม่เพียงแต่กล่าวถึง วันเกิด อาชีพ การศึกษา แต่จะมีการถึงเรื่องราวของแต่ละช่วงชีวิต และเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในชีวิต ทั้งนี้หากเป็นประวัติของผู้เขียนเอง จะนิยมเรียกว่า อัตชีวประวัติ (https://th.wikipedia.org/wiki/ชีวประวัติ)
ผลงานที่ได้รับการจัดชีวประวัติภายใต้หัวข้อ …

Cutter X กับงานประเภทวรรณกรรม

1 July 2015
Posted by Ekanong Duangjak

 :mrgreen: ตัวพิมพ์เล็ก “x” เราเห็นในตารางเลขหมู่ของ LC Classification พวกเรามวลหมู่บรรณารักษ์ Cataloger ย่อมต้องเคยพบเห็นกันอยู่เสมอในชีวิตของการทำงาน

ตัว x ในตาราง LC Classification หมายถึงอะไรได้บ้าง เรามาดูกัน
หากเป็นตัว .x ในรูปแบบของการใช้ตาราง
“x

Previous Posts Next posts

Tags

blog CONSAL KPI PULINET การจัดการความรู้ การดูแลสุขภาพ การทำงาน การท่องเที่ยว การบริการ การปฏิบัติงานล่วงเวลา การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาตนเอง การพัฒนาบุคลากร การลงรายการ การศึกษาดูงาน การอ่าน การเรียนออนไลน์ กิจกรรมสำหรับเด็ก กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมห้องสมุด ความสุข ค่ายห้องสมุด งานบริการ ธรรมะ นวนิยาย นักเขียน บรรณารักษ์ บริการชุมชน ประกันคุณภาพ ภาพถ่าย ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากร ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ วัด วันสำคัญ วารสาร สัมมนา สุขภาพ หนังสือ หนังสือบริจาค หนังสือและการอ่าน หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ห้องสมุด ห้องสมุด 24 ชั่วโมง อาหาร