RDA เรื่องที่กำลังมาแรงในวงการ Catalog
ช่วงเวลานี้ ในวงการ Catalog คงไม่แคล้วที่จะต้องพูดกันถึงแต่เรื่อง RDA จนทำให้บรรณารักษ์อย่างเรา เริ่มอึนและมึน เหมือนกลับไปเริ่มเรียนกันใหม่…
หลังจากตัวเองไปฟังผู้เชี่ยวชาญพูดบ้่าง อ่านเอาเองบ้าง ก็พอสรุปได้เป็นเรื่องเป็นราว … ที่อาจทำให้ท่านเข้าใจบ้าง งงบ้าง อึนและมืนบ้าง ดังนี้
RDA (Resource Description and …
มารู้จัก Ghost writer และ Compiler กันเถอะ
เนื่องจากได้รับโจทย์คำถามจากหัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์ฯ อีกแล้ว เรื่องการลงรายการหนังสือที่มีชื่อผู้เรียบเรียง ว่า หลักการลงรายการนั้นเค้าลงกันเช่นไร ถึงจะถูกต้อง
ส่วนตัวเรานั้น มีอยู่วันหนึ่งได้ตรวจการลงรายการหนังสือภาษาไทยเล่มหนึ่งพอดิบพอดี ซึ่งมีชื่อผู้แต่ง และมีชื่อผู้เรียบเรียง อยู่ในเล่มทำให้ต้องพิจารณาว่า ควรลงชื่อใดเป็นรายการหลักดี 🙄
และทำให้นึกถึงหนังสือประเภทหนึ่งที่ เป็นหนังสือชีวประวัติของผู้มีชื่อเสียง หรือเรื่องราวความสำเร็จของบุคคลนั้น ซึ่งการเขียนเป็นหนังสือหนึ่งเล่มนั้น บุคคลประเภทนี้จะใช้นักเขียนที่เรียกว่า “Ghost Writer” …
การทับศัพท์
ในการลงรายการบรรณานุกรมของบรรณารักษ์ สิ่งหนึ่งที่บรรณารักษ์วิเคราะห์หมวดหมู่ต้องพบคือ การเขียนทับศัพท์ในภาษาต่างประเทศ ซึ่งข้อมูลอาจปรากฎที่ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง ชื่อสำนักพิมพ์ หรือหัวเรื่อง ในกรณีที่ลงรายการบรรณานุกรมภาษาไทย หรือการลงรายการบรรณานาณุกรมภาษาต่างประเทศที่ต้องถอดตัวอักษรภาษาไทยไปเป็นอักษรโรมัน ซึ่งเราจะพบว่า เรื่องการทับศัพท์ หรือ Romanization นั้นปรากฎในคู่มือการลงรายการ Anglo American Cataloguing Rules ในกฎของชื่อหน่วยงาน ชื่อสถานที่ …
เมื่อวารสารแปลงร่างเป็นหนังสือ
เห็นชื่อเรืองอย่าเพิ่งตกใจ เรื่องของเรื่องมีอยู่ว่า ได้รับโจทย์คำถามมาว่า หากเราอยากจะวิเคราะห์หมวดหมู่วารสารที่เป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องเช่น วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ลงในฐานข้อมูลทรัพยากรของหอสมุดฯ จะมีวิธีการทำเช่นไรให้เป็นมาตรฐาน โดยลงรายการและให้เลขหมู่ หัวเรื่องเหมือนหนังสือ สามารถยืม-คืนได้แบบหนังสือ เนื่องจากในฐานของเรามีการลงรายการวารสารที่นำมาวิเคราะห์หมวดหมู่เป็นหนังสือที่หลากหลายและมากมายหลายอย่าง เมื่อได้รับโจทย์มาก็ต้องไปหาคำตอบ
จากการตรวจสอบข้อมูลในฐานฯพบว่า ในฐานข้อมูลของเรานั้นมีวารสารหลากหลายชื่อที่นำมาวิเคราะห์หมวดหมู่เป็นหนังสือ ดังนั้นจึงเริ่มจากวาสารชื่อที่ใกล้ตัวมากที่สุดคือ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร เนื่องจากวารสารมหาวิทยลัยศิลปากรเป็นวารสารมีชื่อเรื่องและมีเนื้อหาในแต่ละฉบับแตกต่างกันไป ในฐานข้อมูลมีทั้งหมด 29 รายการ …
Zotero กับ Word Processing เพื่อทำรายการบรรณานุกรม/รายการอ้างอิงในงานวิจัยฯ
เมื่อเราได้รู้จักการใช้งานโปรแกรม Zotero กันไปแล้ว ทีนี้เราลองมาทำความรู้จักกับการใช้งาน Zotero ในโปรแกรม Word Processing เพื่อทำรายการบรรณานุกรม/รายการอ้างอิงในงานวิจัย รายงาน วิทยานิพนธ์ หรือบทความ เป็นต้น (ที่เราๆ ท่านๆ ต้องทำกันเป็นปกติเมื่อทำงานวิจัย ทำวิทยานิพนธ์ หรือเขียนบทความ…นั้นเอง)…
การทำรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero
หลังจากที่เรารู้จัก Zotero ในเบื้องต้นกันไปแล้ว … ทีนี้เราก็จะมาดูกันว่าเราสามารถจะทำรายการบรรณานุกรมได้ยังไง
การทำรายการบรรณานุกรมด้วย Zotero สามารถทำได้หลายวิธี (พอสรุปได้อย่างง่าย ๆ ได้ 4 วิธี) ดังนี้
1) การทำรายการบรรณานุกรมโดยตรง ทำได้โดย
เลือกประเภทวัสดุสารสนเทศที่ต้องการทำรายการบรรณานุกรม เช่น หนังสือ …
เล่าเรื่อง Zotero
Zotero คืออะไร… Zotero ใช้ทำอะไร…
ความจริงเมื่อประมาณ 2-3 ปีก่อน ในโครงการ IT & Librarian Update ของหอสมุดฯ ได้เคยมีการพูดกันถึงเรื่องนี้มาก่อน โดยคนที่มาเล่าให้ฟัง ถ้าจำไม่ผิด น่าจะเป็นพี่พัชรี แต่หลังจากนั้นก็ยังไม่ได้มีการหยิบยกมาพูดหรือทำอะไรเป็นชิ้นอันเท่าไรนัก…
วันนี้จะมาเล่าให้เพื่อนพ้องน้องพี่ฟังอย่างคร่าวๆ พอเป็นที่เข้าใจในเบื้องต้น …