Category Archives: มาตรฐานการลงรายการ

Prequel

17 June 2015
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen:  เมื่อต้นเดือนที่ผ่านมาได้รับโจทย์ปัญหาจากหัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์ฯ เรื่องการลงรายการหนังสือที่เป็นชุด ซึ่งโดยทั่วไปก็คงไม่มีปัญหาอะไรที่ผิดปกติหากหนังสือชุดนั้นจะมาแบบปกติ คือเรียงลำดับมาตั้งเล่มหนึ่ง สอง สาม สี่ ไล่ไปเรื่อยๆจนถึงเล่มจบ แต่หนังสือที่ซื้อเข้ามาล่าสุดเป็นหนังสือชุด The Maze runner series ซึ่งหัวหน้าฝ่ายพิจารณาแล้วว่า สมควรที่จะอยู่รวมกันไม่แยกเป็นเล่ม (ซึ่งถ้าหากแยกเป็นเล่มๆ ก็จะใช้วิธิการ Running Cutter เพื่อให้หนังสืออยู่ใกล้กัน)…

เลขหมู่วิทยานิพนธ์

:mrgreen: ช่วงนี้เพื่อนๆ ชาวหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์บางคน อาจสังเกตเห็นเลขหมู่หนังสือของคอลเลคชั่นวิทยานิพนธ์ที่เปลี่ยนไป จากที่เคยให้เลขหมู่ในระบบ LC แบบปกติ แต่วิทยานิพนธ์ที่มีบริการใหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นไป สิ่งที่เพิ่มเติมมาคือ จะปรากฎปีที่อยู่ใต้เลขหมู่
เรื่องนี้สืบเนื่องมาจากการพูดคุยระหว่างบรรณารักษ์งานวิเคราะห์ (Cataloger) กับบรรณารักษ์งานบริการสารนิเทศ (คุณพัชรี) ที่เคยขึ้นมาฝึกงานกับฝ่ายวิเคราะห์ฯ อยู่ช่วงหนึ่งเมื่อเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม ปี 2557 ที่ผ่านมา …

การตรวจสอบความถูกต้อง…

KPI ของ Cataloger ในฝ่ายวิเคราะห์ฯมี 2 งาน คือ 1. การทำรายการทรัพยากรสารสนเทศ 2. การตรวจความถูกต้องของข้อมูลในการทำรายการทรัพยากรสารสนเทศ ข้อ 2 จึงเป็นประเด็นว่าต้องมีการตรวจงาน โดยที่ Cataloger สลับกันตรวจ หมุนเวียนกันไป การตรวจก็เริ่มตั้งแต่ Tag …

Trick ของการทำงานกับ Cutter

11 November 2014
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen: บรรณารักษ์ผู้มีหน้าที่วิเคราะห์หมวดหมู่ เคยมีปัญหาปวดอก ปวดใจ และปวดหมองกับการให้เลขคัตเตอร์หรือไม่ วันนี้มีข้อมูลใหม่มานำเสนอจ้า
ด้วยความบังเอิญไปพบงานเขียนของกลุ่มบรรณารักษ์ของประเทศแคนาดาเข้าเห็นว่าน่าสนใจก็ลยนำมาเล่าสู่กันฟัง เผ์ื่อว่า จะเป็นประโยชน์ในการทำงานไม่มากก็น้อย
ในการวิเคราะห์หมวดหมู่หากบรรณารักษ์ทั้งหลายไม่ได้ใช้คัตเตอร์สำเร็จรูป เช่น คัตเตอร์ของแซนบอร์น ก็จะใช้คัตเตอร์ของหอสมุดรัฐสภาอเมิรกัน หรือ L.C. Book Number Table
จากหน้าเว็บไซต์ของ LC (http://www.loc.gov/aba/pcc/053/table.html) …

เรื่องของ Cutter Number

7 September 2014
Posted by Ekanong Duangjak

  :mrgreen:     “เลขคัตเตอร์” คำนี้บรรณารักษ์และผู้ที่ทำงานในห้องสมุดย่อมต้องเคยได้ยินกันมา
ผู้ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับวงการห้องสมุด อาจทำหน้างงและสงสัย ว่าคืออะไร ดังนั้นวันนี้ก็เลย เอามะพร้าวห้าวมาขายสวน (สำหรับคนในวงการห้องสมุดที่รู้เรื่องเป็นอย่างดี) ถือว่า เรามาฟื้นความรู้เก่ากันก็แล้วกัน
(ปล. มิกล้าอวดภูมิ หรือถือเอาเป็นข้อเขียนของตนเอง เพราะเนื้อหาส่วนใหญ่ก็รวบรวมและเรียบเรียงเนื้อหามาจากผู้รู้ในวงการห้องสมุดของเรานั้นเอง)
เลขคัตเตอร์” มี 2 ชนิด …

Catalog มาตรฐานใหม่ RDA

15 August 2014
Posted by Ekanong Duangjak

สรุปจาก : การบรรยายเรื่อง RDA ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 14 พฤศจิกายน 2556    ถึง วันที่15 พฤศจิกายน 2556
มาตรฐาน RDA (Resource Description and Access) …

Previous Posts Next posts

Tags

blog CONSAL KPI PULINET การจัดการความรู้ การดูแลสุขภาพ การทำงาน การท่องเที่ยว การบริการ การปฏิบัติงานล่วงเวลา การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาตนเอง การพัฒนาบุคลากร การลงรายการ การศึกษาดูงาน การอ่าน การเรียนออนไลน์ กิจกรรมสำหรับเด็ก กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมห้องสมุด ความสุข ค่ายห้องสมุด งานบริการ ธรรมะ นวนิยาย นักเขียน บรรณารักษ์ บริการชุมชน ประกันคุณภาพ ภาพถ่าย ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากร ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ วัด วันสำคัญ วารสาร สัมมนา สุขภาพ หนังสือ หนังสือบริจาค หนังสือและการอ่าน หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ห้องสมุด ห้องสมุด 24 ชั่วโมง อาหาร