Tag 300 : หน้า vs แผ่น ต่างกันอย่างไร
การทำรายการทรัพยากรสารสนเทศ ในการลงรายการแต่ละTag จะเป็นการลงรายการแบบ AACR2 เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน แต่ปัจจุบันการลงรายการแบบ RDA มีบทบาทมากขึ้น เนื่องจากสารสนเทศในยุคปัจจุบันส่วนใหญ่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รายละเอียดในการลงข้อมูลจึงต้องลงข้อมูลให้มากที่สุด เพื่อสะดวกต่อผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการ
ดิฉันเคยได้รับคำถามจากเพื่อนร่วมงานฝ่ายอื่นว่า หนังสือบางเล่มใช้คำว่า “หน้า” และบางเล่มใช้คำว่า “แผ่น” จึงอยากทราบว่าต่างกันอย่างไร จึงขออธิบายเป็นภาษาตนเองคะว่า Tag 300 …
เรื่องของ Note
หากมีการพูดถึงคำว่า “Note” หรือ “โน้ต” ในความเข้าใจของคนทั่วไปมีความหลากหลายของความหมาย อาจหมายถึง โน้ตดนตรี หรือ โน้ตเพลง (note) ที่เป็นเสียงหรือสัญลักษณ์ของเสียง หรือ ในเรื่องการเขียนเรื่องเอกสารอาจหมายถึง สมุด หรือ สมุดโน้ต (notebook/notepad) บันทึก (memorandum/memo) ชื่ออื่นเช่น …
การลงรายการจำนวนหน้า ใน tag 300
การลงรายการจำนวนหน้าหนังสือ จะลงรายการใน tag 300 เพื่อบอกลักษณะทางกายภาพของตัวเล่ม ในที่นี้ดิฉันจะกล่าวถึงจำนวนหน้าที่ไม่มีเลขหน้ากำกับ ซึ่งมีหลายลักษณะด้วยกัน มีวิธีการลงรายการ ดังนี้
- หนังสือเล่มนั้นมีส่วนต้นของหนังสือ (คำนำ/สารบัญ) มีเลขหน้าเป็นตัวอักษร หรือตัวเลขโรมันกำกับ ให้ลงรายการตัวสุดท้ายของหน้า เช่น
⇒ ข-จ, 250
Cutter X กับงานประเภทวรรณกรรม
ตัวพิมพ์เล็ก “x” เราเห็นในตารางเลขหมู่ของ LC Classification พวกเรามวลหมู่บรรณารักษ์ Cataloger ย่อมต้องเคยพบเห็นกันอยู่เสมอในชีวิตของการทำงาน
ตัว x ในตาราง LC Classification หมายถึงอะไรได้บ้าง เรามาดูกัน
หากเป็นตัว .x ในรูปแบบของการใช้ตาราง
“x…
Prequel
เมื่อต้นเดือนที่ผ่านมาได้รับโจทย์ปัญหาจากหัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์ฯ เรื่องการลงรายการหนังสือที่เป็นชุด ซึ่งโดยทั่วไปก็คงไม่มีปัญหาอะไรที่ผิดปกติหากหนังสือชุดนั้นจะมาแบบปกติ คือเรียงลำดับมาตั้งเล่มหนึ่ง สอง สาม สี่ ไล่ไปเรื่อยๆจนถึงเล่มจบ แต่หนังสือที่ซื้อเข้ามาล่าสุดเป็นหนังสือชุด The Maze runner series ซึ่งหัวหน้าฝ่ายพิจารณาแล้วว่า สมควรที่จะอยู่รวมกันไม่แยกเป็นเล่ม (ซึ่งถ้าหากแยกเป็นเล่มๆ ก็จะใช้วิธิการ Running Cutter เพื่อให้หนังสืออยู่ใกล้กัน)…
Trick ของการทำงานกับ Cutter
บรรณารักษ์ผู้มีหน้าที่วิเคราะห์หมวดหมู่ เคยมีปัญหาปวดอก ปวดใจ และปวดหมองกับการให้เลขคัตเตอร์หรือไม่ วันนี้มีข้อมูลใหม่มานำเสนอจ้า
ด้วยความบังเอิญไปพบงานเขียนของกลุ่มบรรณารักษ์ของประเทศแคนาดาเข้าเห็นว่าน่าสนใจก็ลยนำมาเล่าสู่กันฟัง เผ์ื่อว่า จะเป็นประโยชน์ในการทำงานไม่มากก็น้อย
ในการวิเคราะห์หมวดหมู่หากบรรณารักษ์ทั้งหลายไม่ได้ใช้คัตเตอร์สำเร็จรูป เช่น คัตเตอร์ของแซนบอร์น ก็จะใช้คัตเตอร์ของหอสมุดรัฐสภาอเมิรกัน หรือ L.C. Book Number Table
จากหน้าเว็บไซต์ของ LC (http://www.loc.gov/aba/pcc/053/table.html) …
เรื่องของ Cutter Number
“เลขคัตเตอร์” คำนี้บรรณารักษ์และผู้ที่ทำงานในห้องสมุดย่อมต้องเคยได้ยินกันมา
ผู้ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับวงการห้องสมุด อาจทำหน้างงและสงสัย ว่าคืออะไร ดังนั้นวันนี้ก็เลย เอามะพร้าวห้าวมาขายสวน (สำหรับคนในวงการห้องสมุดที่รู้เรื่องเป็นอย่างดี) ถือว่า เรามาฟื้นความรู้เก่ากันก็แล้วกัน
(ปล. มิกล้าอวดภูมิ หรือถือเอาเป็นข้อเขียนของตนเอง เพราะเนื้อหาส่วนใหญ่ก็รวบรวมและเรียบเรียงเนื้อหามาจากผู้รู้ในวงการห้องสมุดของเรานั้นเอง)
“เลขคัตเตอร์” มี 2 ชนิด …