Tag Archives: cutter number

การใช้ตารางชีวประวัติ

12 July 2015
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen: ชีวประวัติ คือ การเขียนประวัติศาสตร์ของชีวิตของบุคคล หรือ การทำงานของบุคคล หรือ การมีส่วนร่วมของแต่ละบุคคลที่ชี้เฉพาะเจาะจง
งานเขียนชนิดนี้เป็นการกล่าวถึงเรื่องราวของบุคคลในช่วงชีวิต ชีวประวัติของบุคคลหนึ่งๆ ไม่เพียงแต่กล่าวถึง วันเกิด อาชีพ การศึกษา แต่จะมีการถึงเรื่องราวของแต่ละช่วงชีวิต และเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในชีวิต ทั้งนี้หากเป็นประวัติของผู้เขียนเอง จะนิยมเรียกว่า อัตชีวประวัติ (https://th.wikipedia.org/wiki/ชีวประวัติ)
ผลงานที่ได้รับการจัดชีวประวัติภายใต้หัวข้อ …

Cutter X กับงานประเภทวรรณกรรม

1 July 2015
Posted by Ekanong Duangjak

 :mrgreen: ตัวพิมพ์เล็ก “x” เราเห็นในตารางเลขหมู่ของ LC Classification พวกเรามวลหมู่บรรณารักษ์ Cataloger ย่อมต้องเคยพบเห็นกันอยู่เสมอในชีวิตของการทำงาน

ตัว x ในตาราง LC Classification หมายถึงอะไรได้บ้าง เรามาดูกัน
หากเป็นตัว .x ในรูปแบบของการใช้ตาราง
“x

Trick ของการทำงานกับ Cutter

11 November 2014
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen: บรรณารักษ์ผู้มีหน้าที่วิเคราะห์หมวดหมู่ เคยมีปัญหาปวดอก ปวดใจ และปวดหมองกับการให้เลขคัตเตอร์หรือไม่ วันนี้มีข้อมูลใหม่มานำเสนอจ้า
ด้วยความบังเอิญไปพบงานเขียนของกลุ่มบรรณารักษ์ของประเทศแคนาดาเข้าเห็นว่าน่าสนใจก็ลยนำมาเล่าสู่กันฟัง เผ์ื่อว่า จะเป็นประโยชน์ในการทำงานไม่มากก็น้อย
ในการวิเคราะห์หมวดหมู่หากบรรณารักษ์ทั้งหลายไม่ได้ใช้คัตเตอร์สำเร็จรูป เช่น คัตเตอร์ของแซนบอร์น ก็จะใช้คัตเตอร์ของหอสมุดรัฐสภาอเมิรกัน หรือ L.C. Book Number Table
จากหน้าเว็บไซต์ของ LC (http://www.loc.gov/aba/pcc/053/table.html) …

เรื่องของ Cutter Number

7 September 2014
Posted by Ekanong Duangjak

  :mrgreen:     “เลขคัตเตอร์” คำนี้บรรณารักษ์และผู้ที่ทำงานในห้องสมุดย่อมต้องเคยได้ยินกันมา
ผู้ที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับวงการห้องสมุด อาจทำหน้างงและสงสัย ว่าคืออะไร ดังนั้นวันนี้ก็เลย เอามะพร้าวห้าวมาขายสวน (สำหรับคนในวงการห้องสมุดที่รู้เรื่องเป็นอย่างดี) ถือว่า เรามาฟื้นความรู้เก่ากันก็แล้วกัน
(ปล. มิกล้าอวดภูมิ หรือถือเอาเป็นข้อเขียนของตนเอง เพราะเนื้อหาส่วนใหญ่ก็รวบรวมและเรียบเรียงเนื้อหามาจากผู้รู้ในวงการห้องสมุดของเรานั้นเอง)
เลขคัตเตอร์” มี 2 ชนิด …

เรื่องของ Regions and Countries Table

24 March 2012
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen: เมื่อสัปดาห์ก่อนได้คำถามมาจากบรรณารักษ์ท่านหนึ่งเรื่อง การกระจายชื่อประเทศในการวิเคราะห์หมวดหมู่ เมื่อตอบคำถามนั้นไปแล้ว และเพื่อให้แน่ใจก็เลยต้องไปหาความรู้มาเพื่อสนับสนุนคำตอบนั้น ซึ่งในการวิเคราะห์หมวดหมู่ในระบบ LC  หรือ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน บรรณาัรักษ์ย่อมเรียนรู้หมวดหมู่ต่างๆ ว่ามีขอบเขตของเนื้อหาครอบคลุมสาขาวิชาใดบ้าง ในแต่ละหมวดหมู่ย่อมที่การแบ่งหมวดหมู่ การใช้ตาราง ที่เหมือนหรือแตกต่างกันไป แต่มีสิ่งหนึ่งที่คล้ายกันคือ การกระจายของเนื้อหาในหมวดหมู่นั้นตาม “ ภูมิภาคหรือประเทศ ” หรือ ” …

Tags

blog CONSAL KPI PULINET การจัดการความรู้ การดูแลสุขภาพ การทำงาน การท่องเที่ยว การบริการ การปฏิบัติงานล่วงเวลา การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาตนเอง การพัฒนาบุคลากร การลงรายการ การศึกษาดูงาน การอ่าน การเรียนออนไลน์ กิจกรรมสำหรับเด็ก กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมห้องสมุด ความสุข ค่ายห้องสมุด งานบริการ ธรรมะ นวนิยาย นักเขียน บรรณารักษ์ บริการชุมชน ประกันคุณภาพ ภาพถ่าย ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากร ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ วัด วันสำคัญ วารสาร สัมมนา สุขภาพ หนังสือ หนังสือบริจาค หนังสือและการอ่าน หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ห้องสมุด ห้องสมุด 24 ชั่วโมง อาหาร