รัชกาลที่ 6 กับเมืองนครปฐม…ความผูกพันอันชิดใกล้ เมืองนครปฐมในสมัยรัตนโกสินทร์เมื่อฟื้นคืน ศูนย์กลางของเมืองมิได้อยู่ในตำแหน่งครั้งโบราณ ด้วยจุดเริ่ม นับเนื่องจากการบูรณะปฏิสังขรณ์พระปฐมเจดีย์อันเป็นมหาเจดีย์ที่ประดิษฐานอยู่นอกเมือง ซึ่งพระบาทสมเด็จ- พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่
อัตลักษณ์ความเป็นไทยนั้นแสดงออกได้ในหลากรูปแบบ แต่ละชุมชนท้องถิ่น ต่างมีอัตลักษณ์อันบ่งบอกถึงตัวตนของชุมชนนั้น ๆ สืบทอด ส่งต่อ เป็นวัฒนธรรมท้องถิ่นอันดีงามจากรุ่นสู่รุ่น ความชัดเจนในอัตลักษณ์ท้องถิ่น จึงมักสื่อผ่านจากภูมิปัญญาของท้องถิ่นที่แฝงอยู่ในวิถีการดำรงชีวิตแห่งชุมชนนั้น ผ้า
เปิงซังกราน…ข้าวในเทศกาล วันสงกรานต์ภาษามอญ เรียกว่า งัวอะต่ะ หรือหากจะกล่าวว่าประเพณีสงกรานต์ เรียกว่า สะแพ่งอะต่ะ อะต่ะ หรือ สงกรานต์นั้น
สืบเนื่องจาก “ชมรมอนุรักษ์ฟิล์มเก่า ฟิล์มกระจก ภาพถ่ายขาวดำ” ได้มอบไฟล์ภาพเก่าของจังหวัดนครปฐม ให้แก่ศูนย์ข้อมูลภาคตะวันตก หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ เมื่อครั้งจัดเสวนาภาพเก่าเมืองนครปฐม ในงานเปิดบ้านทับแก้ว เมื่อหลายปีก่อน
ก่อนอื่นจะขอเล่าต้นเหตุและสิ่งจูงใจที่จะนำมาสู่การสำรวจโบราณคดีในจังหวัดนครปฐม ผมมีความสนใจเรื่องราวประวัติศาสตร์มาก่อนหน้านี้แล้ว ด้วยเป็นเพราะมีอาชีพทนายความมีโอกาสได้เดินทางไปบ้านลูกความในที่ต่าง ๆ ในจังหวัด จึงได้สอบถามเรื่องราวที่มีในท้องถิ่น ถามถึงสิ่งของที่พบในพื้นดินตามสถานที่ต่าง ๆ ลูกความรายหนึ่งที่บ้านทะเลบก ตำบลกระดีบ
ประวัติโดยสังเขป นายไพบูลย์ พวงสำลี ทนายนักอนุรักษ์ท้องถิ่น เป็นชาวจังหวัดนครปฐมโดยกำเนิด เขาเกิดเมื่อวันที่ 2 กันยายน 2502 เป็นบุตรคนที่