หนึ่งในประติมากรรมทางพุทธศาสนาสมัยทวาราวดีที่สำคัญซึ่งพบที่จังหวัด นครปฐมนั้น คือ พระพุทธรูปศิลาขนาดใหญ่ ซึ่งมีความสูงโดยประมาณ ๓.๒ – ๔ เมตร ประทับนั่งบนบัลลังก์

Read More

อุโบสถ หรือที่มักคุ้นเคยเรียกว่า โบสถ์ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า สถานที่ที่ใช้สำหรับพระสงฆ์ประชุมทำสังฆกรรม เช่น สวดพระปาติโมกข์ อุปสมบท

Read More

จากบทความก่อนหน้า เรื่อง “ศาลเจ้านครปฐม : รู้จักศาลเจ้า” ซึ่งกล่าวถึงข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับประวัติความเป็นมา และเหตุแห่งการสร้างศาลเจ้าในเมืองไทย ตลอดจนบทบาทของศาลเจ้าจีนต่อชุมชนชาวจีนและชุมชนโดยรวม อีกทั้งยังให้ข้อมูลพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของศาลเจ้าโดยย่อ

Read More

ประเทศไทยมีความสัมพันธ์กับประเทศจีนมายาวนาน มีการเดินเรือเข้ามาค้าขายบริเวณอ่าวไทยนับตั้งแต่สมัยสุโขทัย ต่อมาในสมัยอยุธยาเริ่มมีการติดต่อค้าขายกันมากขึ้น จึงมีการเข้ามาตั้งหลักแหล่งค้าขายบริเวณภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ ทั้งชั่วคราวและถาวร ต่อมาสมัยกรุงธนบุรีซึ่งพระเจ้าตากสินมีพระมารดาเชื้อสายจีนแต้จิ๋ว ชาวจีนจึงได้รับการดูแลเป็นพิเศษโดยเฉพาะกลุ่มที่พูดภาษาแต้จิ๋ว ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ชาวจีนจากทางตอนใต้ของจีน

Read More