Tag Archives: การลงรายการ

Catalog มาตรฐานใหม่ RDA

15 August 2014
Posted by Ekanong Duangjak

สรุปจาก : การบรรยายเรื่อง RDA ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 14 พฤศจิกายน 2556    ถึง วันที่15 พฤศจิกายน 2556
มาตรฐาน RDA (Resource Description and Access) …

มารู้จัก Ghost writer และ Compiler กันเถอะ

9 April 2013
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen: เนื่องจากได้รับโจทย์คำถามจากหัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์ฯ อีกแล้ว เรื่องการลงรายการหนังสือที่มีชื่อผู้เรียบเรียง ว่า หลักการลงรายการนั้นเค้าลงกันเช่นไร ถึงจะถูกต้อง
ส่วนตัวเรานั้น มีอยู่วันหนึ่งได้ตรวจการลงรายการหนังสือภาษาไทยเล่มหนึ่งพอดิบพอดี ซึ่งมีชื่อผู้แต่ง และมีชื่อผู้เรียบเรียง อยู่ในเล่มทำให้ต้องพิจารณาว่า ควรลงชื่อใดเป็นรายการหลักดี 🙄
และทำให้นึกถึงหนังสือประเภทหนึ่งที่ เป็นหนังสือชีวประวัติของผู้มีชื่อเสียง หรือเรื่องราวความสำเร็จของบุคคลนั้น ซึ่งการเขียนเป็นหนังสือหนึ่งเล่มนั้น บุคคลประเภทนี้จะใช้นักเขียนที่เรียกว่า “Ghost Writer” …

เมื่อวารสารแปลงร่างเป็นหนังสือ

24 December 2012
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen: เห็นชื่อเรืองอย่าเพิ่งตกใจ เรื่องของเรื่องมีอยู่ว่า ได้รับโจทย์คำถามมาว่า หากเราอยากจะวิเคราะห์หมวดหมู่วารสารที่เป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องเช่น วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร  ลงในฐานข้อมูลทรัพยากรของหอสมุดฯ จะมีวิธีการทำเช่นไรให้เป็นมาตรฐาน โดยลงรายการและให้เลขหมู่ หัวเรื่องเหมือนหนังสือ สามารถยืม-คืนได้แบบหนังสือ  เนื่องจากในฐานของเรามีการลงรายการวารสารที่นำมาวิเคราะห์หมวดหมู่เป็นหนังสือที่หลากหลายและมากมายหลายอย่าง เมื่อได้รับโจทย์มาก็ต้องไปหาคำตอบ
จากการตรวจสอบข้อมูลในฐานฯพบว่า ในฐานข้อมูลของเรานั้นมีวารสารหลากหลายชื่อที่นำมาวิเคราะห์หมวดหมู่เป็นหนังสือ ดังนั้นจึงเริ่มจากวาสารชื่อที่ใกล้ตัวมากที่สุดคือ วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร เนื่องจากวารสารมหาวิทยลัยศิลปากรเป็นวารสารมีชื่อเรื่องและมีเนื้อหาในแต่ละฉบับแตกต่างกันไป ในฐานข้อมูลมีทั้งหมด 29 รายการ

เรื่องของ article ในภาษาต่างประเทศ

7 June 2012
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen: ในหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ของเรานั้นมี Collection ภาษาต่างประเทศหลายภาษา ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเยอรมัน ภาษาจีน ภาษาเกาหลี ภาษาญี่ปุ่น ซึ่งบรรณารักษ์วิเคราะห์หมวดหมู่ทุกท่านต้องทำการวิเคราะห์หมวดหมู่หนังสือภาษาต่างๆ เหล่านี้ เพื่อนำหนังสือออกบริการผู้ใช้ ในการวิเคราะห์หมวดหมู่หนังสือที่เป็นภาษาต่างประเทศย่อมต้องแตกต่างจากหนังสือภาษาไทยของเรา ด้วยธรรมชาติของภาษา จึงต้องมีกฎเกณฑ์ที่ต่างกันไป สิ่งหนึ่งที่บรรณารักษ์วิเคราะห์หมวดหมู่จะต้องพบคือ การใช้ Article ในภาษาต่างประเทศที่ปรากฎที่ชื่อเรื่องของหนังสือ…

เรื่องของ "ชื่อ"

1 June 2012
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen: วันนี้เปิด AACR2 อ่าน chapter 22 เรื่อง headings for persons เนื่องจากช่วงนี้ห้องสมุดชื่อหนังสือที่เกี่ยวกับ Southeast Asia เข้ามาบริการในห้องสมุด ตามเทรนด์ go to ASEAN ซึ่งหนังสือเหล่านี้ก็จะมีเนื้อหาที่เกี่ยวกับประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ของเรา 10 …

เรื่องของ Regions and Countries Table

24 March 2012
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen: เมื่อสัปดาห์ก่อนได้คำถามมาจากบรรณารักษ์ท่านหนึ่งเรื่อง การกระจายชื่อประเทศในการวิเคราะห์หมวดหมู่ เมื่อตอบคำถามนั้นไปแล้ว และเพื่อให้แน่ใจก็เลยต้องไปหาความรู้มาเพื่อสนับสนุนคำตอบนั้น ซึ่งในการวิเคราะห์หมวดหมู่ในระบบ LC  หรือ ระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน บรรณาัรักษ์ย่อมเรียนรู้หมวดหมู่ต่างๆ ว่ามีขอบเขตของเนื้อหาครอบคลุมสาขาวิชาใดบ้าง ในแต่ละหมวดหมู่ย่อมที่การแบ่งหมวดหมู่ การใช้ตาราง ที่เหมือนหรือแตกต่างกันไป แต่มีสิ่งหนึ่งที่คล้ายกันคือ การกระจายของเนื้อหาในหมวดหมู่นั้นตาม “ ภูมิภาคหรือประเทศ ” หรือ ” …

เรื่องของ Editions

17 March 2012
Posted by Ekanong Duangjak

:mrgreen: ปัญหาที่พบเห็นสำหรับบรรณาัรักษ์วิเคราะห์หมวดหมู่ คือ การตรวจสอบข้อมูลของหนังสือเล่มที่จะดำเนินการวิเคราะห์หมวดหมู่และการตัดสินใจเกี่ยวกับหนังสือเล่มนั้น เช่น
– การตรวจสอบข้อมูลของหนังสือเล่มที่เคยอยู่เดิมในฐานข้อมูล บรรณารักษ์ผู้วิเคราะห์หมวดหมู่พิจารณาว่าเป็นคนละเล่มกัน (ฉบับพิมพ์ครั้งใหม่) แล้วทำการวิเคราะห์หมวดหมู่ใหม่ โดยพิจารณาความแตกต่างของหนังสือเล่มที่จะดำเนินการวิเคราะห์หมวดหมู่กับเล่มที่มีอยู่เดิมว่า เป็นหนังสือที่ตีพิมพ์ใหม่
ซึ่งอาจเป็นการพิจารณาที่ผิดพลาดก็ได้ เพราะหนังสือเล่มที่จะดำเนินการวิเคราะห์หมวดหมู่นั้นอาจเป็นหนังสือที่ตีพิมพ์ซ้ำก็ได้ ดังนั้นเรามาดูเกณฑ์ของการพิจารณาหนังสือ ว่าหนังสือเล่มนั้นๆ เป็นการพิมพ์ครั้งใหม่ หรือ การพิมพ์ซ้ำ สมควรจะวิเคราะห์หมวดหมู่ใหม่ หรือ …

Previous Posts Next posts

Tags

blog CONSAL KPI PULINET การจัดการความรู้ การดูแลสุขภาพ การทำงาน การท่องเที่ยว การบริการ การปฏิบัติงานล่วงเวลา การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาตนเอง การพัฒนาบุคลากร การลงรายการ การศึกษาดูงาน การอ่าน การเรียนออนไลน์ กิจกรรมสำหรับเด็ก กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมห้องสมุด ความสุข ค่ายห้องสมุด งานบริการ ธรรมะ นวนิยาย นักเขียน บรรณารักษ์ บริการชุมชน ประกันคุณภาพ ภาพถ่าย ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากร ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ วัด วันสำคัญ วารสาร สัมมนา สุขภาพ หนังสือ หนังสือบริจาค หนังสือและการอ่าน หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ห้องสมุด ห้องสมุด 24 ชั่วโมง อาหาร