Trick ของการทำงานกับ Cutter

:mrgreen: บรรณารักษ์ผู้มีหน้าที่วิเคราะห์หมวดหมู่ เคยมีปัญหาปวดอก ปวดใจ และปวดหมองกับการให้เลขคัตเตอร์หรือไม่ วันนี้มีข้อมูลใหม่มานำเสนอจ้า
ด้วยความบังเอิญไปพบงานเขียนของกลุ่มบรรณารักษ์ของประเทศแคนาดาเข้าเห็นว่าน่าสนใจก็ลยนำมาเล่าสู่กันฟัง เผ์ื่อว่า จะเป็นประโยชน์ในการทำงานไม่มากก็น้อย
ในการวิเคราะห์หมวดหมู่หากบรรณารักษ์ทั้งหลายไม่ได้ใช้คัตเตอร์สำเร็จรูป เช่น คัตเตอร์ของแซนบอร์น ก็จะใช้คัตเตอร์ของหอสมุดรัฐสภาอเมิรกัน หรือ L.C. Book Number Table
จากหน้าเว็บไซต์ของ LC (http://www.loc.gov/aba/pcc/053/table.html) พบว่า ตารางการให้คัตเตอร์มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยเพื่อความสะดวกในการทำงานของ Cataloger แบบเราๆท่านๆ ดังนี้
 

 
 
หากมาพิจารณาแยกส่วนพบว่า รายการหลักที่ขึ้นต้นด้วยตัว S มีการกระจายใหสะดวกขึ้น
 แบบใหม่
 
แบบเก่าที่หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ใช้อยู่
After the initial letter S
for the second letter  :      a     ch     e     h,i     m-p       t        u
use number :                     2      3      4      5         6      7- 8      9
 
แบบใหม่
 

 
แบบเก่าที่หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ใช้อยู่
After the initial letter QU
for the third letter  :      a     e       i       o        r          y       
use number :                 3      4       5      6        7          9
 
แบบใหม่และแบบเก่าใช้เหมือนเดิม

 
แบบใหม่
 

 
แบบเก่าที่หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ใช้อยู่
After initial vowels
for the second letter  :      b     d     l,m    n      p     r     s,t     u-y
use number :                     2     3      4      5      6      7    8       9
 
แบบใหม่

 
แบบเก่าที่หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ใช้อยู่
When an additional number is preferred
for the third letter  :   a-d       e-h     i-l    m     n-q    r-t    u-w   x-z
use number  :               2         3        4    5       6       7      8      9
 
 
 

One thought on “Trick ของการทำงานกับ Cutter

  • อ้อเขียนเรื่องคัตเตอร์ไปสองครั้งแล้ว พี่ดราฟท์เป็นปียังได้แค่สองบรรทัด อ้อยังรักษาคุณภาพของการถ่ายทอดองค์ความรู้ผ่านการเขียนบล็กได้อย่างคงเส้นคงวาและสม่ำเสมอ ขอบคุณนะ

Leave a Reply

Tags

blog CONSAL KPI PULINET การจัดการความรู้ การดูแลสุขภาพ การทำงาน การท่องเที่ยว การบริการ การปฏิบัติงานล่วงเวลา การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาตนเอง การพัฒนาบุคลากร การลงรายการ การศึกษาดูงาน การอ่าน การเรียนออนไลน์ กิจกรรมสำหรับเด็ก กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมห้องสมุด ความสุข ค่ายห้องสมุด งานบริการ ธรรมะ นวนิยาย นักเขียน บรรณารักษ์ บริการชุมชน ประกันคุณภาพ ภาพถ่าย ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากร ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ วัด วันสำคัญ วารสาร สัมมนา สุขภาพ หนังสือ หนังสือบริจาค หนังสือและการอ่าน หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ห้องสมุด ห้องสมุด 24 ชั่วโมง อาหาร