Category Archives: เรื่องทั่วไป

ก้าวย่างที่เติบโต@หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์  (2)

22 August 2019
Posted by thitima

ตำแหน่งบรรณารักษ์
ตั้งแต่ดิฉันเรียนจบปริญญาตรี บรรณารักษศาสตร์ เมื่อเดือน มี.ค. 2533 ภายในปีนั้นหอสมุดฯ ได้เปิดสอบแข่งขันเพื่อบรรจุข้าราชการตำแหน่งบรรณารักษ์ ดิฉันก็สมัครสอบแข่งขันกับคนอื่น ๆ ด้วย โดยไม่ได้อ่านหนังสือเตรียมตัวสอบอย่างจริงจังอะไร ผลก็คือสอบไม่ได้
 
พ.ศ. 2535  หอสมุดฯ มีการเปิดสอบแข่งขันเพื่อบรรจุข้าราชการตำแหน่งบรรณารักษ์  ดิฉันก็สมัครสอบแข่งขันกับคนอื่น ๆ …

ก้าวย่างที่เติบโต@หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ (1)

21 August 2019
Posted by thitima

ตำแหน่งพนักงานห้องสมุด ระดับ 2-5 (พ.ศ. 2521 – 2540)
          ดิฉันได้บรรจุเป็นข้าราชการ ตำแหน่งพนักงานห้องสมุด 2 ตั้งแต่วันที่ 2 ต.ค. 2521 ปฏิบัติงานที่หน่วยบริการวารสารและหนังสือพิมพ์ มีภาระงานได้แก่ ทำหนังสือพิมพ์ออกบริการทุกเช้าก่อน 8.30 น. …

Disruption

21 August 2019
Posted by patcharee

        ระยะนี้เมื่อมีงานสัมมนา หรือประชุมทางวิชาการ ชื่อการสัมมนาหรือการประชุมมักจะมีคำว่า “Disruption” ติดอยู่ด้วยเสมอ “Disruption”  ตามความหมายของ Longdo Dict ให้ความหมายไว้ว่า เป็นคำนาม แปลว่า การขัดขวาง, การหยุดชะงัก, การแตกกระเจิง ตามข้อมูลที่อ่านพบบอกว่า …

พนักงานห้องสมุดคนแรก@หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์

20 August 2019
Posted by thitima

เมื่อดิฉันเรียนจบระดับ ป.กศ.สูง (ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง) เอกบรรณารักษศาสตร์ จากวิทยาลัยครูเพชรบุรี ในเดือน มี.ค. 2521 ก็เริ่มหางานทำ และยังคิดถึงคำพูดที่หัวหน้าแผนกห้องสมุดฯ ในขณะนั้น (คุณมาลินี ศรีพิสุทธิ์ และปัจจุบันแผนกห้องสมุดฯ คือ หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์)   ที่เอ่ยปากชวนให้มาทำงานที่แผนกห้องสมุดฯ  ว่าเมื่อไรหนอจะเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ทำงานสักที
 
ต่อมาในเดือนพฤษภาคม …

เลขาฯ การประชุมบรรณารักษ์

มีโอกาสขอทำหน้าที่เลขานุการ การประชุมบรรณารักษ์ของหอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ หน้าที่นี้เริ่มตั้งแต่ ปี 2561 ซึ่งเป็นสิ่งที่ภูมิใจในฐานะบรรณารักษ์รุ่นน้องของหอสมุดฯ ผู้เขียนเชื่อว่าการเป็นเลขานุการในที่ประชุมสามารถพัฒนาตนเองได้ ทั้งเรื่องการจดบันทึก การจับประเด็น การสรุปความ เมื่อเขียนรายงานแล้ว ผู้เขียนจะส่งให้คุณจันทร์เพ็ญ กล่อมใจขาว หัวหน้าฝ่ายโสตฯ ช่วยตรวจรายงานการประชุมให้ทุกครั้ง สิ่งนี้เป็นสิ่งที่สำคัญอีกขั้นเพราะทำให้เรารู้ว่าเรามีข้อด้อยของการเขียนรายงานอย่างไร สิ่งที่ได้รับคำแนะนำในการแก้ไข เช่น การจัดหน้ากระดาษ การเรียบเรียงเนื้อหา …

วันคนถนัดซ้ายสากล


วันที่ 13 สิงหาคม ของทุกปี ถูกกำหนดให้เป็นวันคนถนัดซ้ายสากล (Left Hander’s Day) ตั้งแต่ปี ค.ศ.1976 (พ.ศ. 2519) เริ่มจากองค์กร Lefthander’s International ประเทศสหรัฐอเมริกา เลือกวันที่ 13 สิงหาคมเป็นวันคนถนัดซ้าย เหตุผลคือ …

Humanity

7 August 2019
Posted by Kavee Chutimanon


จากโปสเตอร์แผ่นหนึ่งของเพจ Humanity ผู้จัดทำสามารถสื่อสารได้อย่างชัดเจน โดยไม่ต้องมีคำบรรยายประกอบ ซึ่งตรงกับความจริงเป็นอย่างมาก แทบจะทุกๆบ้านที่มีเด็ก ภาพที่เกิดขึ้นเป็นประจำคือ ในมือของเด็กมีโทรศัพท์อยู่ตลอดเวลา เด็กๆสนใจที่จะอยู่ในโลกของตัวเองอยู่ในโลกแห่งจินตนาการ การสื่อสารกับคนรอบข้างโดนตัดขาดโดยสิ้นเชิง เป็นพฤติกรรมที่น่าเป็นห่วงมาก  ต่างจากเมื่อก่อนโดยสิ้นเชิง เด็กๆมักจะชอบวิ่งเล่น ใช้ชีวิตอยู่นอกบ้าน มีกิจกรรมมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างวัย มีประสบการณ์ที่ต้องเรียนรู้ในการใช้ชีวิตในแต่ละวัน จากเพื่อนๆบ้าง จากผู้ใหญ่บ้างซึ่งต่างก็จะคอยเพิ่มเติมทักษะการเรียนรู้ด้านต่างๆ ได้สัมผัสกับโลกของความเป็นจริงตามวัยที่ควรจะเป็น…

Previous Posts Next posts

Tags

blog CONSAL KPI PULINET การจัดการความรู้ การดูแลสุขภาพ การทำงาน การท่องเที่ยว การบริการ การปฏิบัติงานล่วงเวลา การประชาสัมพันธ์ การพัฒนาตนเอง การพัฒนาบุคลากร การลงรายการ การศึกษาดูงาน การอ่าน การเรียนออนไลน์ กิจกรรมสำหรับเด็ก กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน กิจกรรมห้องสมุด ความสุข ค่ายห้องสมุด งานบริการ ธรรมะ นวนิยาย นักเขียน บรรณารักษ์ บริการชุมชน ประกันคุณภาพ ภาพถ่าย ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากร ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ วัด วันสำคัญ วารสาร สัมมนา สุขภาพ หนังสือ หนังสือบริจาค หนังสือและการอ่าน หอสมุดพระราชวังสนามจันทร์ ห้องสมุด ห้องสมุด 24 ชั่วโมง อาหาร